๕ ทศวรรษที่ผ่านมา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ได้พัฒนานักศึกาาระดับ
ปริญญาตรีและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกาา ออกไปรับใช้สังคม แล้วหลายพันคน
ในปีการศึกษา 2559 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ม.อ.
มีต้นกล้านักสึกาารวมทั้งหมด 420 คน
ศึกษาอยู่ใน หลักสูตรปริญญาตรี 348 คน
หลักสูตรปริญญาโท 53 คน
หลักสูตรปริญญาเอก 19 คน
ในระดับปริญญาตรี นักศึกษา 348 คนนี้ ศึกาาอยู่ในสาขาวิสวกรรมโยธากว่า 2 ใน 3
(245 คน) และสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมประมาณ 1 ใน 3 (103 คน)
ในระดับปริญญาโท นักศึกษา 53 คนนี้ ประมาณครึ่งหนึ่งศึกาาอยู่ในสาขาวิซกรรมโยธา
(25 คนป ประกอบด้วยวิศวกรรมขนส่ง 15 คน วิสวกรรมโครงสร้าง 5 คน และวิศวกรรม
ธรณีเทคนิค 5 คน) ส่วนอีกประมาณครึ่งหนึ่งอยู่ในสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
(28 คน ในจำนวนนี้เป็นนักศึกษาต่างชาติ 5 คน)
ในระดับปริญญาเอก นักศึกาา 19 คนนี้ ศึกษาอยู่ในสาขาวิศวกรมโยธา 13 คน ซึ่งประกอบ
ด้วยวิศวกรรมขนส่ง 6 คน (เป้นนักศึกษาต่างชาติ 2 คน) วิศวกรรมโครงสร้าง 3 คน และ
วิศวกรรมธรณีเทคนิค 4 คน ในส่วนสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมนั้นมีนักศึกษา 6 คน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตบัณฑิตทางวิศวกรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรมโยธา
และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน
2. เพื่อศึกษาค้นคว้าวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และแสวงหาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยอันนำไปสู่การพึ่งพาตนเอง ทางเทคโนโลยีในการพัฒนา
อุตสาหกรรมของประเทศ
3. เพื่อให้บริการวิชาการทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งมีส่วนผลักดัน
การพัฒนาประเทศและชุมชนท้องถิ่นในภาคใต้
โดยสรุป ปัจจุบัน ภาควิชาฯ มีหลักสูตรการเรียนการสอนทั้ง 3 ระดับคือ
1. วิศวกรมศาสตรบัณฑิต (ปริญญาตรี)
1.1 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
1.2 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
2. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ปริญญาโท)
2.1 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
- วิศวกรรมโครงสร้าง, วิศวกรรมขนส่ง, วิศวกรรมธรณีเทคนิค
2.2 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
3. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปริญญาเอก)
3.1 สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
- วิศวกรรมโครงสร้าง, วิสวกรรมขนส่ง, วิสวกรรมธรณีเทคนิค
3.2 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
เป้าหมาย
1. เพื่อเสริมสร้างงานวิจัยในสาขาที่มีศักยภาพไปสู่ความเป็นเลิศ
2. เพื่อสร้างและถ่ายทอดผลงานวิจัยที่ตอบสนองต่อความต้องการ
ของประเทส และเชื่อมโยงสู่สากล
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรุ้ ความสามารถ คิดเป็น ทำเป็น มีคุณธรรม
และจิตสำนักสาธารณ
4. เพื่อบูรณาการองค์ความรุ้สู่สังคมและชุมชน
5. เพื่อบริหารจัดการองค์กรเชิงรุกอย่างมีประสิทธิภาพตามหลัก
ธรรมาภิบาล
6. เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะ และปรับปรุงวัฒนธรรมองค์กร สู่องค์กร
แห่งการเรียนรู้ โดยมีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ